รอคนที่สู้ชีวิตให้อยู่ต่อไป





มื่อเราทั้งหลายหวนรำรึกถึงเหตุการณ์ได้ที่ผ่านมา ท่านได้รักเเละเรียกร้องยัดยืน สิทธิเสรีภาพเเละความเป็นธรรมเพื่อปวงชน




ร้อยป่าสยามนิมิต ร้อยป่าสยามนิมิต

วันเสาร์ที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2562

นายพรชัยศรีไชโยครับพ่อเสียชีวิตเมื่อวันเด็กแห่งชาติปี 2555พวกมันมั่วสุมจับนามสกุลหลานผมครับต้นสีดาหรือต้นฝรั่งทุกคืนที่ผ่านไปก็มั่วสุมว่าข่มขืนแล้วในที่สุดเด็กที่ตายตอนวันเด็กก็คือหลานผมนั่นแหละครับ หลานผมป3ตายแล้ว ผมทำให้หลานผมต้องเดือดร้อน แค่อย่ารบกวนยามวิกาลผมจึงไปปฏิเสธว่าไม่ได้มีการข่มขืนอยู่ในบ้านไม่นานตำรวจก็ยกพวกมารังแกสร้างภาพว่าถูกตีอยู่ในบ้าน ผมไปร้องเรียนแล้วเขาก็จับผมในวันสงกรานต์แทนไปหาหมอ ต่อมาญาตินายอำเภอที่ออกทะเบียนบ้านก็เลยถูกฆ่าข่มขืนไปด้วยครับออกข่าวช่อง 3 กรมการอำเภอมีอุบาย


เรียนเพื่อนๆพี่น้องและสื่อมวลชน
ผมไม่คิดว่าเวลาหลายปีที่ผ่านมาคนในหมู่บ้านจะมีอุปกรณ์เครื่องไม้เครื่องมือที่กระทบทำร้ายกันได้คนไทยไม่ควรทำร้ายกันเองครับ
เราเป็นคนไทยด้วยกันนะครับ เรามีพระมหากษัตริย์องค์เดียวกันนะครับ เรามีสถาบันทางสังคมเดียวกันนะครับคือชาติและศาสนาเราคือเพื่อนร่วมชาติร่วมศาสนาเดียวกันนะครับ

ความที่มีมาเดิมนั้น ก็เป็นความสับสนวุ่นวายเนื่องจากเหตุการณ์การเมืองการเลือกตั้งเมื่อครั้นศาลากลางเมืองขอนแก่นศูนย์ข่าวช่อง 3 ขอนแก่นตำรวจเมืองขอนแก่น แล้วก็หุ้นอสมทแล้วคุณพุ่มเจนเซ่น แม่ผมยังหาเลี้ยงผมอยู่นะครับแม่ผมยังทำงานอยู่ในวัย 60 แล้วส่วนผมก็ไปเยี่ยมญาติเขียนหนังสืออ่านแล้วก็ขอความช่วยเหลือจากถ้าจะจัดการจากรัฐบาล


คือความเดิมนั้นผมใช้เวลา12 ปีในการเอาชนะคดีคดีนั้นจบที่รักษาการผู้อำนวยการโรงพยาบาลศูนย์สุขภาพจิตขอนแก่นส่งหนังสือยอมความว่ายินยอมปฏิบัติตามคำสั่งศาลปกครองจังหวัดขอนแก่นเมื่อปี 2555ว่าผมไม่ได้เป็นบ้า​ ไม่ได้เป็นคนวิกลจริตแต่ถูกทุจริตวางยาแล้วก็ถูกทำร้ายไปหาหมอ


ปี47–50ไม่นานนักผมไม่ได้ใช้สิทธิ์แจ้งความผ่านตำรวจเมืองขอนแก่นไม่ได้ใช้สิทธิ์แจ้งความผ่านสำนักนายกรัฐมนตรีไม่ว่ากรณีใดๆ

จากปี 2547 จนกระทั่งเหตุการณ์ประท้วงชุมนุมเผาสถานที่ราชการเช่น​ ทำเนียบรัฐบาล สลากกินแบ่งรัฐบาล​ ศาลากลางจังหวัดขอนแก่น สำนักงานกรมประชาสัมพันธ์ข้างทำเนียบรัฐบาล
เหตุการณ์เหล่านั้นผ่านไปถึงได้ใช้สิทธิ์
ร้องเรียน


เราถูกคนหลอกใช้ราชการแล้วทุจริตลับหลังครับ

ช่วงปี53—55 ผมส่งหนังสือร้องเรียน​ แล้วคุณหมอก็บอกอนาคตของผลราชการต่อเนื่องถึง2 ปีผลก็คือ​ สำนักงานป้องกันปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ​ มีความเห็นลงโทษวินัยไม่ร้ายแรงข้าราชการโรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่น
ผมร้องเรียนผ่านหนังสือร้องเรียนพร้อมกับเหตุการณ์การตรวจสอบคุณหมอร่วมกันทุจริตนำยาที่จะซื้อจะแจ้งมาไปซุกซ่อนไว้ใต้ต้นโคนมะม่วง ฟ้องคดีหนึ่งคนจาก 15คน
เมื่อปี 2552ผมก็เอาชนะคดีในศาลปกครองสูงสุดผมใช้เวลาทั้งหมด8 ปีในการฟ้องคดี

พวกชาวบ้านหนองมันปลาทำให้ชีวิตผมสับสนวุ่นวายทุกวันทุกคืนทำให้ภาพพจน์ญาติพี่น้องของผมด่างพร้อยในเมืองขอนแก่นทั้งด้านการศึกษาและการออกสังคมพบปะกับเพื่อนๆ

ในปี 2555ผมฟ้องคดีไปทั้งสิ้น 3 ข้อ
ข้อที่ 1 ในการคัดกรองผู้ป่วยนั้นเป็นจรรยาบรรณและความประพฤติของเราเองเราไม่ควรทำร้ายผู้อื่นเราไม่ควรทำร้ายตนเองหรือแต่ไม่ทรัพย์สมบัติเสียหาย
ผลคดีนั้นเนื่องจากการคัดกรองผู้ป่วยไม่ได้รับความเป็นธรรมอีกทั้งยังมีปัญหาเรื่องการเมืองการปกครองทำให้การร้องเรียนขาดอายุความ
ก็ไปจบลงที่ปู่ของหมอที่เป็นสตงถูกจับข้อหาทุจริตกองกฐินหลวงที่กรุงเทพฯพร้อมกับหนังสือสัพพะเอกสารต่างๆที่ได้ร้องเรียนไปกินเวลาทั้งสิ้น 2 ปี
"เสียเวลาดีกว่าเสียอนาคตติดยาเสพติด"
ข้อ2 ฯลฯ
ข้อ3ฯลฯ
ด้วยอำนาจบารมีศาลทำให้เรายังพอพูดกับญาติพี่น้องได้ว่าเราไม่ใช่คนชั่วแก้ความบกพร่องเหมือนลูกนักโทษในหมู่บ้านหนองมันปลา


สรุปรูปคดีเเบบเดิมกัน​ ร่วมกันรับผิดคดีกรรมการการจ้างใน​ รพ.


แม้ไม่ได้ร่วมทุจริต : แต่ต้องรับผิดเพราะชำนาญการพิเศษ  ประเด็นชวนคิด  มีกรณีที่น่าสนใจว่า... 

ถ้าเกิดการทุจริตขึ้นในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงาน เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องในกระบวนการ เช่น กรรมการตรวจการจ้างที่ลงนามตรวจรับงานทั้งที่ไม่ได้มีการจัดจ้างจริง โดยมีการจัดท ำฎีกาและหลักฐานการเบิกจ่ายเป็นเท็จ กรรมการที่ตรวจรับงานดังกล่าวไม่ได้มีส่วนรู้เห็นในการทุจริต  แต่ได้ลงนามตรวจรับเพราะเห็นว่าประธานกรรมการตรวจการจ้างได้ลงชื่อก่อนแล้วจึงเกิดความเกรงใจ และ ไม่อยากขัดใจเจ้าหน้าที่การเงินที่นำเอกสารมาให้ลงนามเพราะต้องปฏิบัติงานร่วมกันอีก    เหตุผลทำนองนี้จะรับฟังได้หรือไม่ ???  แน่นอนว่า... การได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจการจ้างหรือเป็นผู้ตรวจรับงานนั้น ย่อมไม่อาจปฏิบัติหน้าที่อย่างไรก็ได้ เพราะต้องด ำเนินการให้ถูกต้องตามระเบียบที่เกี่ยวข้อง เช่น ราชการส่วนท้องถิ่นก็ต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2535 

กล่าวคือ ระเบียบดังกล่าวได้กำหนดให้กรรมการตรวจการจ้างหรือกรรมการตรวจรับพัสดุ ต้องปฏิบัติหน้าที่ในการตรวจสอบหรือตรวจรับงานจริง การลงนามตรวจรับโดยไม่ได้มีการตรวจสอบจริง  ย่อมเป็นการไม่ปฏิบัติตามระเบียบดังกล่าว ผู้เขียนจึงมีประเด็นชวนคิดว่า... เมื่อกรรมการตรวจรับงานจ้างโดยไม่ได้ปฏิบัติตามระเบียบฯ  คือไม่ได้ตรวจสอบงานจริง แต่ก็มิได้เป็นผู้ร่วมกระทำการทุจริต จะต้องมีส่วนรับผิดหรือไม่ ? เพียงใด ? มาดูข้อเท็จจริงของคดีกันเลยดีกว่าค่ะ... เรื่องนี้...

เริ่มจากสำนักงานตรวจเงินแผ่นดินได้ตรวจสอบพบการทุจริตเบิกจ่ายเงินค่าบ ารุงซ่อมแซมทรัพย์สินของงานป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนของเทศบาลตำบลแห่งหนึ่ง ได้แก่ ค่าซ่อมรถดับเพลิง  ค่าซ่อมรถบรรทุกน้ำและค่าซ่อมเครื่องสูบน้ า โดยมีการสั่งจ่ายเป็นเช็คหลายฉบับ เป็นจำนวนเงินกว่าหนึ่งล้านบาท

คำวินิจฉัยชวนรู้  จาก “ประเด็นชวนคิด” ข้างต้น ต้องมาพิจารณาก่อนว่าผู้ฟ้องคดีได้กระท ำละเมิดต่อเทศบาลหรือไม่ ? ถ้าใช่ ควรต้องรับผิดเพียงใด ? 

ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยว่า มาตรา 420 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ได้บัญญัติองค์ประกอบของการกระทำละเมิดว่า “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ท าต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย ให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่า ผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”  ผู้ฟ้องคดีดำรงตำแหน่งนายช่างโยธาปฏิบัติหน้าที่เป็นกรรมการตรวจการจ้าง ได้ลงนามตรวจรับมอบงานว่าเห็นควรจ่ายเงินค่าซ่อมทรัพย์สินของงานป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ทั้งที่ยังไม่เคยได้ตรวจดูงานจริง  ซึ่งย่อมสังเกตเห็นได้ถึงความผิดปกติในการตรวจรับมอบงานซ่อมแซมดังกล่าว แต่กลับปล่อยปละละเลยยินยอมตรวจรับงาน ซึ่งหากผู้ฟ้องคดีปฏิบัติตามระเบียบฯ โดยตรวจสอบงานจริงก่อนลงนาม ย่อมจะช่วยป้องกันมิให้เกิดความเสียหายขึ้นได้ จึงถือได้ว่าผู้ฟ้องคดีปฏิบัติหน้าที่ด้วยความจงใจไม่ปฏิบัติตามระเบียบ เป็นเหตุให้เทศบาลได้รับความเสียหาย ถือเป็นการกระท าละเมิดตามมาตรา 420 ดังกล่าว  เมื่อศาลวินิจฉัยแล้วว่าเป็นการกระท าละเมิด โดยกรณีนี้เป็นการกระท าละเมิดจากการปฏิบัติหน้าที่ซึ่งอยู่ภายใต้ความคุ้มครองของพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 โดยมาตรา 10 ประกอบมาตรา 8 ก าหนดให้เจ้าหน้าที่ต้องชดใช้ค่าเสียหายเฉพาะกระท าโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงเท่านั้น เมื่อผู้ฟ้องคดีกระท าละเมิดโดยจงใจจึงต้องชดใช้ค่าเสียหายแก่เทศบาล ถึงตรงนี้... มาดูสัดส่วนหรือจ านวนเงินที่ผู้ฟ้องคดีต้องรับผิดตามค าสั่งของเทศบาลกันต่อเลยดีกว่าค่ะว่า... ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ ? ศาลได้ตรวจสอบหลักฐานแล้วเห็นว่า ได้มีการรวมค่าเสียหายจากฎีกาอื่นที่ผู้ฟ้องคดีไม่ได้มีส่วนร่วม ในการเป็นกรรมการตรวจรับงานจ้างรวมในความเสียหายกรณีนี้ด้วย อันเป็นการก าหนดความรับผิด ที่คลาดเคลื่อนและไม่เป็นธรรม จึงต้องค านวณค่าเสียหายในส่วนนี้ใหม่ให้ถูกต้อง ส าหรับจ านวนสัดส่วนความรับผิดคือร้อยละ 15 ของความเสียหายนั้นเหมาะสมแล้ว  ศาลปกครองสูงสุดพิพากษาให้เพิกถอนค าสั่งในส่วนที่ค านวณค่าเสียหายคลาดเคลื่อน และมีข้อสังเกตเกี่ยวกับแนวทางการด าเนินการให้เป็นไปตามค าพิพากษาว่า หากเทศบาลได้รับชดใช้ค่าสินไหมทดแทนจากเจ้าหน้าที่ผู้ทุจริตแล้วเพียงใด ให้คืนเงินส่วนที่ช าระไว้เกินความเสียหายแก่ผู้ฟ้องคดีตามสัดส่วนความรับผิดที่ช าระไว้ต่อไป (ค าพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ. 1291/2560)   บทสรุปชวนอ่าน กรณีนี้... ผู้ฟ้องคดีต้องรับผิดจากการกระท าละเมิดอันเกิดจากการจงใจไม่ปฏิบัติตามระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นการก ำหนดความรับผิดคนละส่วนกับกลุ่มเจ้าหน้าที่ผู้กระท าการทุจริต อย่างไรก็ตาม... หากสามารถเรียกเงินคืนจากเจ้าหน้าที่ผู้ทุจริตได้แล้ว ต้องคืนส่วนที่ช ำระไว้เกินความเสียหายให้แก่ผู้ฟ้องคดีตามสัดส่วนความรับผิดที่ชำระไว้ จึงไม่เป็นการกำหนดความรับผิดเกินจำนวนความเสียหาย ประการสำคัญ ในการปฏิบัติหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับงบประมาณหลวงต้องดำเนินการและปฏิบัติตามระเบียบให้ถูกต้อง จะอ้างความเกรงใจหรือไม่อยากมีปัญหาในการทำงานแล้วละเลยไม่ดำเนินการตามระเบียบ ไม่ได้ !! นะคะ  (ปรึกษาคดีปกครองได้ที่ สายด่วนศาลปกครอง 1355) 

ไม่มีความคิดเห็น:

คลังบทความของบล็อก

คลิก ติดตามข่าวสาร